อั้ม - อธิชาติ ชุมนานนท์
อั้ม - อธิชาติ ชุมนานนท์
อั้ม - อธิชาติ ชุมนานนท์
อั้ม - อธิชาติ ชุมนานนท์
อั้ม - อธิชาติ ชุมนานนท์
อั้ม - อธิชาติ ชุมนานนท์
อั้ม - อธิชาติ ชุมนานนท์
อั้ม - อธิชาติ ชุมนานนท์
อั้ม - อธิชาติ ชุมนานนท์
อั้ม - อธิชาติ ชุมนานนท์

แม้จะปลูกข้าว บนดินที่เคยแห้งแล้ง
ที่เรียกว่า ทุ่งกุลาร้องไห้
แต่ด้วยความอดทน ต่อสู้ ไม่ย่อท้อ
ทำให้ข้าว มีความแตกต่าง
ให้ความหอมที่โดดเด่นมาก
จนได้ชื่อว่า
ข้าวหอมมะลิ ระยะเขียว 105

พี่ได้เดินทางไป จังหวัด ร้อยเอ็ด
หลายครั้งใน 2-3 ปีที่ผ่านมา
ได้คุยกับกลุ่มเกษตรกร
จ.ร้อยเอ็ด อ.บ้านเหม้า
ได้เข้าใจลึกซึ้ง ถึงคำว่า ข้าว คือชีวิตของเกษตรกร
เพราะกว่าจะปลูกได้ กว่าจะผ่านความแห้งแล้ง
ที่มีมาหลายชั่วอายุคน
ต้องรอฝนฟ้าที่นานๆ จะตกที
ไม่สามารถคาดเดาอะไรได้
ต้องใช้หยาดเหงื่อ และ เสียน้ำตา
กันมามากมาย เพื่อให้
ข้าวเติบโต ผ่านความแห้งแล้ง
และนำมาขาย เป็นรายได้
เลี้ยงครอบครัว ให้ลูกได้เรียนหนังสือ
และเป็นข้าว ที่เรานำมากินกัน

แต่สิ่งที่เห็นก็คือ ความยากลำบาก
ก็ให้ความพิเศษกับเรา
เหมือนนักสู้ที่ไม่ท้อถอย รอคอยวัน
เวลา ด้วยความพยายาม
และหัวใจที่จริงใจ

ชาวบ้านอาจจะเรียกว่า
ข้าว รอเทวดาปลูก
แต่วันนี้เราไม่ต้องรอแล้ว
เราช่วยกันปลูก ช่วยกันซื้อได้ ช่วยกันบอกต่อได้
เพราะเกษตรกร ก็นำไปพัฒนาวิจัย
แปรรูป ให้เราได้ ทานอาหารที่เป็น ยา
จะซื้อทานแบบหุงก็ได้
หรือจะทานแบบอื่น
ก็ได้ประโยชน์มากขึ้น
ชาวบ้านบอกว่า ยิ่งทาน น้ำตาลยิ่งลด
ขับถ่ายดี มีโอเมกา 3 6 9 บำรุงสมอง

ทุ่งกุลา จะไม่ร้องไห้อีกต่อไป
#ข้าวเขียวหยก
#ข้าวหอมมะลิระยะเขียว105
#Atistory

โพสต์เมื่อ
26 ก.ค. 67 - 21:18:16
ถูกใจ
3,346 คน
ความคิดเห็น
36 ข้อความ