วิจารณ์ Cosmopolis
-
ครูซ
(เลขที่ 338988)
เมื่อ 29 ม.ค. 56 01:28
งง งง งง และ งง ครับ
ไม่รุ้เรื่องเศรษศาสตร์ครับยังแก้ที่สอบตกเศรษศาสตร์ยังไม่เสร็จเลย
เรื่องนี้ NO COMMAND :x
ป.ล.หนังเหมือนจะสื่ออะไรบางอย่าง -
BubbaBubba
(ไม่ได้เป็นสมาชิก)
เมื่อ 5 ก.ค. 55 23:35
รวมๆแล้ว ถือเป็นหนังที่ดูยากมากจริงๆครับ
คือ"โครงเรื่องหลัก"ผมพอจะเข้าใจว่าทั้งหนังสือและตัวหนังเองต้องการจะสื่อประเด็นอะไร
แต่บทสนทนาและสัญลักษณ์ต่างๆ รวมทั้งการกระทำอันหลุดโลกของแต่ละตัวละคร 90% ของทั้งเรื่องทำผมมึนไปเลยเหมือนกัน เพราะไม่รู้จะตีความว่ายังไงดี
โดยรวมแล้วผมถือว่าเป็นหนังที่แปลก
ถึงแม้ว่าใครที่ชินกับหนังของ David Cronenberg แล้ว เจอเรื่องนี้เข้าไปก็อาจจะหงายเงิบได้เหมือนกัน
ส่วนตัวผมคิดว่า มันคล้ายๆเรื่อง Existenz ของพี่แกนิดๆนะครับ
โดยรวมแล้ว นี่อาจจะเป็นหนังที่ต้องใช้สมองในการรับชมมากกว่าจะเป็นหนังที่ให้ความบันเทิง ซึ่งถ้าชอบอะไรที่คาดเดาไม่ได้ มีสมาธิในการดูมากๆ เก็บรายละเอียดมาคิดต่อยอด ส่วนทั้งหลายเหล่านี้ ถือเป็นสเหน่ห์ของหนังเรื่องนี้ได้เหมือนกัน
ส่วนตัวผม(พยายาม)นั่งดูหนังเรื่องนี้จนจบ เพราะแค่อยากรู้ว่า หนัง(มึนๆ)เรื่องนี้จะหาที่ลงยังไง และพอดูจบก็รู้สึก"ภูมิใจ"ว่า "เอ้อ กรูดูหนังที่ไม่รู้เรื่องเรื่องนี้จนจบได้ด้วยว่ะ" -
เด็กเลว
(เลขที่ 270350)
เมื่อ 5 ก.ค. 55 15:53
คุณ nineteen-eightyfive ไปก๊อปมาจากเวปนอกแล้วมาแปลใน google แน่นอน
อ่านไม่รุ้เรื่อง -
Researcher
(เลขที่ 315963)
เมื่อ 5 ก.ค. 55 11:19
ผมอยากดู Cosmopolis มากครับ
อยากดูก็เพราะ ผกก.David Cronenberg นี่แหละ
แต่พอมาอ่านคำวิจารณ์ของท่าน nineteen-eightyfive ผมอาจจะไม่ดูแล้วแหละครับ
ดูท่ามันสับสน และยากจังเลยครับ..เหมือนเห็นสมการอะไรซักอย่างที่ผมไม่มีวันรู้ -
nineteen-eightyfive
(ไม่ได้เป็นสมาชิก)
เมื่อ 3 ก.ค. 55 18:08
ตัวตนที่แตกสลายพร้อมๆกับการเงินที่ล้มลลาย?
ออกจากโรงแบบมึนๆ กันถ้วนหน้า เป็นหนังที่ขับเคลื่อนด้วยบทสนทนาประเด็นยากๆ ใหญ่ๆ อย่าง capitalism, identity, absolute beauty/perfection ถึงมันจะ parallel กันไปทั้งเรื่องอยู่ แต่อดไม่ได้ที่จะรู้สึกว่ามันจับยัดเข้าปากไปหน่อย มีประเด็นใหญ่ๆที่เห็นจากหน้าหนังอย่างเรื่อง capitalism ที่เป็น/ดำเนินโดยคนหมู่มาก แล้วก็ชนชั้นล่างที่เป็นปัจเจก (ถ้าเป็นหมู่คณะได้คงกระทบกับชนชั้นกลาง-สูง เช่น ม็อบที่เห็นๆกัน) จากที่เห็นในขบวนประท้วง และหลายๆฉากที่มี หนู เป็น motif จนดูไปดูมาเราว่ามัน absurd คล้ายๆใน no man's land บทละครร่วมสมัยที่ตัวละครมันนั่งคุยกันเรื่องที่คนปกติไม่คุยกัน เช่นการย้ำว่า testicles ไม่เท่ากัน แบบอยู่ๆก็พูดขึ้นมา พอมาอีกชั้นนึงจะเป็นประเด็นอัตลักษณ์ ตัวละครของโรเบิร์ตนี่จะคลั่งไคล้ absolute perfection มากกกกกกก และการที่จะรู้ว่าอะไรสมบูรณ์แบบหรือไม่นั้น สิ่งนั้นต้องวัดได้ออกมาเป็นข้อมูล fact เหมือนที่เค้าจะจำตัวเลข จำเวลาเป็นนาโนวินาที สังเกตสีหน้าภรรยาเพื่อที่จะประมวลผลออกมา แต่สิ่งที่เค้าทำไม่ได้คืออะไรที่มันเกี่ยวข้องกับอารมณ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่หาค่าที่แน่นอนไม่ได้ เช่นเวลาที่พูดถึงการดมกลิ่น เขาจะเข้าไม่ถึงเลย มีเพียงแว๊บๆแค่นั้นที่เขาทำตัวไม่มีเหตุผล ไม่ได้ประมวลผลอะไร คือเรื่องลิฟท์ที่เปิดเพลง 2 แบบ 2 ตัว เท่ากับว่า เขาดูจะมี 2 ตัวตน โดยฝั่ง capital/ perfection obsessive จะกดตัวตนด้านที่อ่อนไหว มีอารมณ์ความรู้สึกที่วัดไม่ได้ไว้ ในตอนท้ายเรื่องจะเห็นตัวละครของ พอล จิอาแมตติ จะฆ่าเขา พอลโผล่ออกมาครั้งแรกโดยไม่มีบทพูด ไม่มีการกระทพใดๆ ต่างกับผู้ประท้วงคนอื่นๆ ตอนผู้หญิงที่วิ่งอกกำลังกายเกิดเปลี่ยนเส้นทางวิ่งมาหาโรเบิร์ต แล้วก็เกิดความรู้สึกทางเพศ ซึ่งที่ผ่านมาถูกกดทับไว้ มันเป็นการ violate the rules ที่ เขาวางไว้ ทำให้ผลที่ตามมาเพี้ยนๆไป จนได้เจอกับ พอล แต่ เการที่เขาเจอกันแค่แปปเดดียวยังคุ้นหน้ากันทำให้สงสัยว่าพอลนี่เป็นอีกด้านที่เขาพยายามหนีหรือเปล่า เพราะพอลมาในบ้านที่ไม่มีคน สภาพถูกละเลย เหมือนรัง"หนู" แล้วมีกันแค่2คนด้วย ไม่มีคนอื่นมาเห็น มาช่วยยืนยันตัวตนของ 2 คนนี้พร้อมกันได้ พอลเป็นตัวละครที่ไม่มีชื่อ (ถึงเจ้าตัวบอกชื่อก็เถอะ) เท่ากับว่าเขามี identity ที่ไม่แน่นอน หรือไม่มีเลย ไม่ literally ก็ figeratively แถมยังต้องรอให้ โรบิร์ต identify อีกด้วย การที่จะไป identify ใครได้นี่ก็แสดงว่ามีอำนาจเหนือคนๆนั้นหรือเป็นเจ้าของ (เหมือนกับการที่เขาบ้าครอบครองมาก การครอบครองนั้นก็เป็นการสร้างตัวตนได้อย่างหนึ่ง มันทำให้เขามีอยู่ในฐานะ เจ้าของ)
แล้วทั้งเรื่องก็มี motif เยอะมาก sex, urine penetration, symmetry, rat, word/syllable/poet, buying ที่ตีความได้อีกไกล ถ้าไม่มึนก่อน
เป็นสมาชิกอยู่แล้ว ลงชื่อเข้าใช้ระบบ
ยังไม่ได้เป็นสมาชิก สมัครสมาชิกใหม่
หรือจะลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Google+ หรือ Facebook ก็ได้
Facebook | Google+
advertisement
วันนี้ในอดีต
- Blood Diamondเข้าฉายปี 2007 แสดง Leonardo DiCaprio, Jennifer Connelly, Chris Astoyan
- Perfume: The Story of a Murdererเข้าฉายปี 2007 แสดง Ben Whishaw, Alan Rickman, Dustin Hoffman
- Open Seasonเข้าฉายปี 2007 แสดง Martin Lawrence, Ashton Kutcher, Jon Favreau
เกร็ดภาพยนตร์
- Into the Woods - บทภาพยนตร์ร่างแรกๆ บทผู้บรรยาย ที่เป็นตัวสำคัญในละครเพลงยังมีบทบาทอยู่ในฉบับภาพยนตร์ และก่อนที่บทนี้จะถูกตัดออกในภายหลัง นักแสดงมากมายได้รับการพิจารณา เจรจา และทาบทามให้สวมบทนี้ นักแสดงเหล่านั้นรวมถึง เจเรมี ไอออนส์, คริสโตเฟอร์ พลัมเมอร์, เจฟฟรีย์ รัช, เจมส์ เอิร์ล โจนส์, จอห์น คลีส, ไมเคิล เคน, ไมเคิล แกมบอน และ อลัน ริกแมน นอกจากนี้ยังมีข่าวลือว่าจะมอบบทนี้ให้นักแสดงผู้หญิงอย่าง จูลี แอนดรูว์ หรือ แองเจลา แลนส์บูรี ที่คุ้นเคยกับลักษณะงานของผู้ประพันธ์เพลง สตีเฟน ซอนด์ไฮม์ เป็นอย่างดี อ่านต่อ»
- Blackhat - ชื่อภาพยนตร์อ้างอิงถึงลักษณะของตัวร้าย ซึ่งวายร้ายในแถบตะวันตกมักจะสวมหมวกสีดำ อ่านต่อ»